ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

แก๊สหุงต้ม


ก๊าซหุงต้ม

คนสมัยก่อนกว่าจะปรุงอาหารที ต้องเสียเวลากับการจุดไฟที่ใช้ไม้เป็นเชื้อเพลิง  แต่ปัจจุบันสะดวกขึ้นมาก  เพราะมีค้นพบเชื้อเพลิงแบบใหม่  ทำให้การประกอบอาหารแต่ละครั้งง่ายและไม่ต้องเสียเวลามาก ความหมายของ “ก๊าซ” คือ เชื้อเพลิง  สำหรับ ก๊าซหุงต้ม (แอลพีจี)นั้นมีชื่อทางการค้าว่า ก๊าซปิโตรเลียมเหลว หรือ ก๊าซแอลพีจี นิยมใช้ในครัวเรือน เป็นเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งได้จากกระบวนการกลั่นน้ำมันดิบในโรงกลั่นน้ำมัน และจากกระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ


ในก๊าซธรรมชาติประกอบด้วยก๊าซหลายชนิดได้แก่
  1. ก๊าซมีเทน ; ใช้ผลิตไฟฟ้า ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม และใช้กับรถยนต์ ซึ่งก็คือก๊าซ ซีเอ๊นจี หรือ เอ็นจีวี
  2. ก๊าซอีเทน+โพรเพน; ใช้เป็นวัตถุดิบในโรงงานปิโตรเคมี
  3. ก๊าซโพรเพน+บิวเทน; ใช้ในโรงงานปิโตรเคมี และอุตสาหกรรมอื่นๆ และใช้เป็นก๊าซหุงต้ม(แอลพีจี)


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

แก๊สในอากาศ

แก๊สในอากาศ   1.  ไนโตรเจน ( nitrogen)   เป็นส่วนประกอบอยู่ในอากาศประมาณร้อยละ  78  โดยปริมาตร ไนโตรเจนทำให้ออกซิเจนที่มีอยู่ในอากาศไม่เข้มข้น ทำให้การสันดาปซึ่งเป็นปฏิกิริยาทางเคมีลดความรวดเร็วลง ไนโตรเจนในอากาศบางส่วนจะถูกแบคทีเรียที่อยู่ในดิน ในรากพืชบางชนิด ตรึงเอาไปไว้เพื่อประโยชน์ของพืช เมื่อพืชและสัตว์ตายลงจะสลายตัวเป็นไนโตรเจนกลับสู่อากาศอีกครั้ง     2.  ออกซิเจน ( oxygen)   เป็นส่วนประกอบอยู่ในอากาศประมาณร้อยละ  21  โดยปริมาตร ออกซิเจนเป็นส่วนประกอบสำคัญในการสันดาป พืชและสัตว์ต้องใช้ออกซิเจนในการหายใจ (กระบวนการเมแทบอลิซึมของเซลล์) และออกซิเจนเกิดมาจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช     3.  คาร์บอนไดออกไซด์ ( carbondioxide)   เป็นส่วนประกอบอยู่ในอากาศประมาณร้อยละ  0.04  โดยปริมาตร พืชใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจออกของสิ่งมีชีวิตจะหายใจเอาคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่ภายนอก     4.  แก๊สเฉื่อย ( inert gas)   เป็นแก...